ขอขอบคุณทุกท่านที่ร่วมกันสร้างลานเจดีย์และองค์พญานาคทางเข้าพระเจดียศรีทศพลบรมไตรโลกนาถ ณ วัดน้ำเขียว (บุญช่วยสามัคคีธรรม) ต.กองทูล อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์ เพื่อถวายเป็นไตรรัตนบูชา

ว่านสิงหโมรา






โมรา ชื่อวิทยาศาสตร์ Cyrtosperma johnstoni N.E.Br.
 จัดอยู่ในวงศ์ ARACEAE
สมุนไพรสิงหโมรา ยังมีชื่อท้องถิ่นอื่นๆ อีกว่า
 ว่านสิงหโมรา ผักหนามฝรั่ง (กรุงเทพฯ) เป็นต้น
ลักษณะของสิงหโมรา
ต้นสิงหโมรา จัดเป็นไม้ล้มลุก ที่มีหัวอยู่ใต้ดิน
 ลำต้นสั้นพ้นผิวดินขึ้นมาเพียงเล็กน้อย ลำต้นเป็น
สีชมพูอ่อน ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ดและ
วิธีการแยกหัว เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนปนทราย
ที่ระบายน้ำได้ดี มีความชื้นสูง และชอบแสงแดดรำไร
 เวลาปลูกให้กลบดินแต่พอมิดหัวเท่านั้น

ขอเชิญร่วมทำบุญสร้างเจดีย์ศรีทศพลบรมไตรโลกนาถ


พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช








พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช เป็นปฐมกษัตริย์แห่ง
นครศรีธรรมราช เป็นต้นราชวงศ์ปทุมวงศ์ เป็นผู้สร้าง
เมืองนครศรีธรรมราช จากชุมชนเดิมซึ่งมีชื่อเรียกว่า
ตามพรลิงก์ บนหาดทรายแก้ว (บริเวณตำบลในเมือง
 อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราชในปัจจุบัน)
เมื่อปลายพุทธศตวรรษที่ 17 จนกลายเป็นนครรัฐหรือ
เป็นอาณาจักรใหญ่ในคาบสมุทรไทย ก่อนที่จะเข้ารวมอยู่
ในราชอาณาจักรไทย สมัยกรุงศรีอยุธยาใน
ต้นพุทธศตวรรษที่ 20 พระนามกษัตริย์ พระองค์นี้
ปรากฏอยู่ในหลักฐานประวัติศาสตร์ท้องถิ่นหลายชิ้น
 เช่น ตำนานเมืองนครศรีธรรมราช และจารึก
ดงแม่นางเมือง (จารึกหลักที่ 35)

อาณาจักรศรีวิชัยโดยสังขาป



อาณาจักรศรีวิชัย  นี้เป็นอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้
 คือบริเวณที่เป็นแหลมมลายู  เดินนั้น 
ศาสดาจารย์ยอรซ์  เซเดส์  ได้อ่านศิลาจารึกวัดเสมา 
 เมืองนครศรีธรรมราช  พบคำว่าศรีวิชัย  จึงมีความเห็นว่า
  ศูนย์กลางของอาณาจักรศรีวิชัยนั้นอยู่ที่เมืองปาเล็มบัง
  เกาะสุมาตรา  ประเทศอินเดีย  เจริญขึ้นในพุทธศตวรรษ
ที่  ๑๓-๑๔

อาณาจักรทวารวดีมีจริงหรือไม่ อยู่ที่ไหนกันแน่




ทวารวดี เป็นคำภาษาสันสกฤตเกิดขึ้นครั้งแรกในปี
พ.ศ. 2427 โดยนายแซมมวล บีล (อังกฤษ: Samuel Beel)
ได้แปลงมาจากคำว่า โถโลโปตี (อังกฤษ: Tolopoti)
ที่มีอ้างอยู่ในบันทึกของภิกษุจีนจิ้นฮง (อังกฤษ: Hiuantsang)
ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 กล่าวว่า โถโลโปตี เป็นชื่อ
ของอาณาจักรหนึ่งตั้งอยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร
และอาณาจักรอิศานปุระ และเขาได้สรุปด้วยว่าอาณาจักร
นี้เดิมตั้งอยู่ในดินแดนประเทศไทย(สยาม)ปัจจุบัน

ขอเชิญร่วมทำบุญสร้างเจดีย์ศรีทศพลบรมไตรโลกนาถ


ประวัติเมืองศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์



       ชื่อเมืองศรีเทพ ดูจะเป็นชื่อใหม่ของประวัติศาสตร์ชาติไทย.
 เพราะมีการเอ่ยถึงไม่แพร่หลายนักเมื่อเทียบกับเมืองใหญ่ๆ
อย่างสุโขทัย ลพบุรี เพชรบุรี นครราชสีมา และ นครศรีธรรมราช
ในพงศาวดารสมัยกรุงศรีอยุธยา สมัยของสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช
 มีบันทึกว่าในปี พ.ศ. 2100 พระยาละแวก เจ้ากรุงกัมพูชา
 ยกทัพมาทางเมืองนครราชสีมา มาตีหัวเมืองชั้นใน ทางตะวันออก
 ขณะนั้นพระนเรศวรฯเสด็จลงมาเฝ้าสมเด็จพระปิตุราชอยู่ที่อยุธยา
 โปรดให้พระศรีถมอรัตน์ กับพระชัยบุรี คุมพลไปซุ่มในดงพญากลาง
 และพระนเรศวรเสด็จขึ้นไปยังเมืองชัยบาดาล ยกกองทัพตีเขมรแตกพ่าย

ประวัติความเป็นมาของเมืองนครจัมปาศรีโดยย่อ



นครจัมปาศรีมีประวัติอันยาวนานนับเป็นพันปี และ
ได้ถูกเลือนหายไปจากหน้าประวัติศาสตร์ จะเนื่องจาก
วิกฤตการณ์ หรือเหตุผล ใดก็ ไม่อาจจะทราบได้
 จะอย่างไรก็ตามก็ยังมีเค้าเงื่อนพอที่จะสอบค้นได้บ้าง
จากหลักฐานทางโบราณคดี เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ
โดยเฉพาะอำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งเป็นที่ตั้ง
นครจัมปาศรี มีโบราณสถานหลายแห่ง และมีโบราณวัตถุ
หลากหลายชนิด สามารถสอบค้นและเปรียบเทียบอายุ
สมัยลักษณะเผ่าพันธุ์ ตลอดจนการดำรงชีพ

พ่อหมออรรถพลผจญเจ้ากรรมนายเวร ณ จังหวัดกาญจนบุรี

เรื่อง การผจญเจ้ากรรมนายเวรนั้นเกิดขึ้นเมื่อตอนที่ ผมได้มีโอกาส
ในการไปอัญเชิญพระธาตุครั้งแรก ณ จังหวัดกาญจนบุรี นี้เองทำให้ผม
ได้มีโอกาสได้พบกับเจ้ากรรมนายเวรที่รอคอยกันเป็นเวลานาน
ใน เย็นหนึ่งของวันแรกของการอัญเชิญพระธาตุอาจารย์กฤษณะ
 ได้พาผมและเหล่าสมาชิกออกตะลุยอัญเชิญตามถ้ำต่าง ๆ
จนมาถึงถ้ำแห่งหนึ่ง ณ เวลาที่เรามาถึงเป็นเวลาใกล้จะพบค่ำแล้ว

ภาพการก่อสร้างเจดีย์ศรีทศพลบรมไตรโลกนาถ




ประวัติโดยย่อของ หลวงพ่อกวย ชุตินฺธโร วัดโฆสิตาราม (วัดบ้านแค) จ.ชัยนาท


มีนามเดิมว่า กวย ปั้นสน เกิดเมื่อวันที่ ๒ พฤศจิกายน
 พ.ศ. ๒๔๔๘ ปีมะเส็ง ณ หมู่บ้าน บ้านแค หมู่ ๙ ต.บางขุด
 อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท เป็นบุตรของคุณพ่อ ตุ้ย ปั้นสน
 ซึ่งบ้านเดิมอยู่วิเศษชัยชาญ จ.อ่างทอง มารดาชื่อ
คุณแม่ต่วน เดชมา เป็นคนบ้าน แค ท่านทั้งสองมีบุตร
และธิดาด้วยกัน ๕ คน

ขอเชิญเป็นเจ้าภาพหล่อพระพุทธรูปปางพระมหาจักรพรรดิ์

               สืบเนื่องจากการก่อสร้างองค์พระเจดีย์ศรีทศพลบรมไตรโลกนาถ ใกล้เสร็จลุล่วงแล้ว ขณะนี้ถึงกาลเวลาที่สมควรจะหล่อพระพุทธรูปประจำจตุรทิศ ประดิษฐาน ณ องค์พระเจดีย์ศรีทศพลบรมไตรโลกนาถ